การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี RFID กับ CSSD ในโรงพยาบาล ดีอย่างไร

เทคโนโลยี RFID ในปี ค.ศ. 2011 โรงพยาบาล แห่งหนึ่งได้เริ่มใช้ เทคโนโลยี RFID เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการ เครื่องมือผ่าตัดในโรงพยาบาล ด้วยวัตถุประสงค์ หลัก 2 ประการ คือ ต้องการเพิ่มความปลอดภัย
ให้กับผู้ป่ วยในการรักษาและลดค่าใช้จ่ายให้กับ โรงพยาบาล ดังนั ้นโรงพยาบาลจึงมีแนวคิด ในการนำเทคโนโลยี RFID มาใช้ร่วมกับระบบ SIMSAFE ซึ่งเป็ นระบบที่พัฒนามาจากบริษัท of Japan เป็ นระบบที่ใช้บริหาร จัดการเครื่องมือผ่าตัด โดยระบบจะใช้งานร่วมกับ RFID tag ระบบนี ้ถูกนำมาใช้กับสถานพยาบาล
แห่งนี้ในญี่ปุ่ น ดังนี ้ 1) โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง เป็น แห่งแรกที่ใช้ระบบนี ้ 2) Japanese Red Cross
Wakayama Medical Center ในปี ค.ศ. 2013 และ ) โรงพยาบาล .ochi Medical School
+ospital ในปี ค.ศ. 2014

กระบวนการที่เกิดขึ้น ในการใช้ RFID กับ OR และ CSSD

ในแต่ละวันโรงพยาบาลมีการจัดเตรียมข้อมูล เพื่อวางแผนการผ่าตัดอยู่ในระบบ +IS (Patient
Management System) และระบบดังกล่าวนี ้ จะเชื่อมโยงกับระบบ SIMSAFE เมื่อมีกำหนด
การผ่าตัด ข้อมูลจะไหลเข้าสู่ SIMSAFE โดยแสดง Patient ID และรายการเครื่ องมือผ่าตัดที่
จำเป็ นต้องใช้กับผู้ป่ วยรายนี ้ เพื่อให้พนักงานจัด เตรียมชุดเครื่องมือได้ตรงกับการผ่าตัด พนักงาน
ต้อง Log in เข้าสู่ระบบ SIMSAFE เพื่อเริ่มจัด เตรียมเครื่องมือผ่าตัดตามรายการที่แสดงใน
ระบบ จากนั ้นเข็นผ่านเครื่องอ่าน RFID และส่ง ไปยังห้องผ่าตัด


ที่ห้องผ่าตัด (OR)

เมื่อห้องผ่าตัดได้รับชุดเครื่องมือ แพทย์จะใช้ รักษาผู้ป่ วย เมื่อใช้งานเสร็จ พนักงานต้องล้าง
ทำความสะอาดเบื ้องต้น และนำเครื่องมือมา สแกน โดยสแกนเครื่องมือที่ถูกใช้ก่อน หลังจาก
นั ้นจึงสแกนเครื่ องมือที่ไม่ได้ ใช้ และนำมา รวมกันใน Container เพื่อนำส่ง CSSD ต่อไป

ที่ห้อง CSSD

เมื่อชุดเครื่องมือมาถึง CSSD จะมีการสแกนที่ Container ก่อน จากนั ้นจึงนำเครื่องมือเข้าเครื่องล้าง
ทำความสะอาด และเข้าสู่กระบวนการจัดเตรียม (Assembly) แสดงในรูปภาพด้านล่าง

ปัจจุบันได้วางมาตรฐานในกระบวนการการผลิตเพื่อระบุ
เอกลักษณ์และทำเครื่องหมายของแต่ละระบบและส่วนประกอบพร้อม
ทั้ง ที่สลักในบาร์โค้ด DataMatrix สำหรับลูกค้าแต่ละราย
“บาร์โค้ด DataMatrix แต่ละระบบจะบรรจุทั้ง สำหรับทั้งระบบ
รวมทั้ง ที่ใช้กับส่วนประกอบในระบบเนื่องจากเครื่องหมายหรือ


ป้ายฉลากอาจติดบนส่วนประกอบบางชิ้นได้ไม่แน่นหนา เช่น จุกยาง”
Neumann ได้อธิบายต่อว่า “ตอนนี้ SGTINs สามารถบันทึกข้อมูลได้
ง่ายๆ ด้วยการสแกนเพียงครั้งเดียวที่ใดก็ได้ในกระบวนการซัพพลายเชน


ทั้งในด้านการผลิต การซ่อมแซมและบำรุงรักษา และปรับปรุงทั้งวงจร”
ในปัจจุบัน ContiTech สามารถเชื่อมโยงข้อมูลการผลิตเฉพาะของลูกค้า
ทั้งหมดเข้ากับระบบต่างๆ ที่ผลิตขึ้นตามข้อกำหนดของลูกค้า
การสั่งผลิตระบบที่เฉพาะตามแต่ความต้องการของลูกค้า รวมทั้ง ที่ถูกกำหนดขึ้นโดยระบบและมีข้อกำหนดของลูกค้าสำหรับ เทคโนโลยี RFID ส่วนประกอบต่างๆ

หากคุณกำลังจะจัดงานที่อยากใช้ระบบ QR Code ในกิจกรรมการจัดงานของคุณ สามารถ ติดต่อได้ที่ K&O Systems ซึ่งมีทีมผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ในการทำ ระบบ QR Code ในงาน event มาแล้วมากมายอาทิ เช่น ระบบลงทะเบียนเข้างาน QR code จับรางวัล และ อื่นๆ ภายในงาน อีเว้นท์ และ งานแสดงสินค้าเข้าไปดูผลงานได้ที่นี่  Vveedigitalและสอบถามได้ที่เบอร์ 082-645-4469